วิธีปลูกกัญชาIN Door

รู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปลูก วิธีปลูกกัญชาIN Door

วิธีปลูกกัญชาในร่ม_H1

วิธีปลูกกัญชาIN Door การปลูกกัญชาในบ้านมีประโยชน์มากมาย ประการแรก ช่วยให้คุณควบคุมสภาพแวดล้อมและปรับสภาพให้เหมาะสมสำหรับต้นพืชของคุณ สิ่งนี้สามารถส่งผลให้ผลผลิตสูงขึ้นและตาดอกที่มีคุณภาพสูงขึ้น การปลูกในร่มยังช่วยให้คุณปลอดภัยมากขึ้นและปกป้องพืชของคุณจากศัตรูพืชและปัญหาอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นเมื่อปลูกกลางแจ้งคู่มือนี้ออกแบบมาโดยเฉพาะสำหรับผู้เริ่มต้นที่ยังใหม่กับการปลูกกัญชา เราจะอธิบายขั้นตอนสำคัญทั้งหมด รวมถึงเคล็ดลับและแหล่งข้อมูลมากมายเพื่อช่วยให้คุณประสบความสำเร็จวิธีปลูกกัญชาในร่มให้ดอกสวยงาม

การเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสม วิธีปลูกกัญชาIN Door

การตัดสินใจที่สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งเมื่อปลูกกัญชาคือการเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสม วิธีปลูกกัญชาในร่มผลผลิตเยอะ สายพันธุ์ต่าง ๆ มีลักษณะแตกต่างกัน เช่น ผลผลิต เวลาออกดอก และผลที่ต้องการ บางสายพันธุ์เหมาะสำหรับการปลูกในร่มมากกว่าสายพันธุ์อื่น ดังนั้นการศึกษาข้อมูลและเลือกสายพันธุ์ที่เหมาะสมกับลักษณะที่คุณต้องการจึงเป็นเรื่องสำคัญหากต้องการค้นหาธนาคารเมล็ดพันธุ์ที่มีชื่อเสียงหรือซื้อโคลน คุณอาจต้องการขอคำแนะนำจากผู้ปลูกรายอื่นหรือไปที่ฟอรัมออนไลน์และกลุ่มสนทนา นอกจากนี้ คุณควรอ่านบทวิจารณ์และค้นคว้าข้อมูลของคุณเองเพื่อให้แน่ใจว่าคุณได้รับเมล็ดพันธุ์หรือโคลนคุณภาพสูง

วิธีปลูกกัญชาIN Doorการจัดพื้นที่เพาะปลูกของคุณ

วิธีปลูกกัญชาในร่มใช้อะไรบ้างเมื่อคุณเลือกสายพันธุ์ได้แล้ว ก็ถึงเวลาจัดพื้นที่เพาะปลูกของคุณ ห้องปลูกพืชเป็นเพียงพื้นที่ที่คุณจะปลูกพืชกัญชาของคุณ อาจเป็นห้องว่างในบ้าน ตู้เสื้อผ้า หรือแม้แต่เต็นท์

มีอุปกรณ์สำคัญสองสามชิ้นที่คุณจะต้องใช้ในการจัดพื้นที่เพาะปลูกของคุณ ประกอบด้วย:

แสงไฟสำหรับปลูกกัญชา

การปลูกแบบ Indoor นั้นจะต้องมีการให้ไฟเพื่อทดแทนแสงจากดวงอาทิตย์ เพื่อการเจริญเติบโตของต้นกัญชา ชนิดของไฟนั้นมีอยู่ 3 แบบหลัก ๆ ที่ใช้ในการปลูกแบบ Indoor เช่น CFLs (Compact Fluorescent lights) , LED และ HID (High Intensity Discharge)

อันที่จริงการเลือกใช้ไฟควรดูค่า ppfd กับ umol/j เป็นหลัก แต่ไฟบ้าน ๆ ไม่ค่อยเห็นบอกไว้ ถ้าให้แนะนำแบบบ้าน ๆ ก็ดูอุณภูมิสีหลอดไฟ

4000-6000k (ใช้ช่วงต้นอ่อนถึงทำใบ)

2700k-3000k(ช่วงทำดอก)

3200k-3500k(ปลูกได้ทุกช่วง)

ส่วน watt ที่ต้องใช้ต่อ 1 ต้นจนจบงานก็ประมาณ 150w + ทั้งนี้ปริมาณและคุณภาพผลผลิตก็จะได้ตามวัสดุที่ผู้ปลูกใช้ อยากจบสวยก็ต้องลงทุนระดับหนึ่ง เอาตามสะดวกของผู้ปลูกแต่ละท่าน

เทคนิคการให้แสงเบื้องต้น

เทคนิคที่ 1

ช่วงทำใบ 14-20 ชม. ต่อวัน

ช่วงทำดอก 8-12 ชม. ต่อวัน

เทคนิคที่ 2

ช่วงทำใบ 18/6( สว่าง 18 มืด 6 ) ชม.

ช่วงทำดอกก 12/12 (สว่าง 12 มืด 12 ) ชม.

แสงสีน้ำเงินทำใบ แสงสีแดงทำดอก (แต่สามารถเปิดทั้งสองได้เพื่อให้ต้นกัญชาเติบโตได้ดี)

ระยะความห่างไฟ:

อนุบาล 60cm 45-50cm

(ทำใบ) 35-40cm

(ทำดอก) (ไม่ตายตัว)

การควบคุมความชื้นเบื้องต้น

ความชื้น : Humidity

ช่วงทำใบ : 40-60%

ช่วงทำดอก : 40-50%

สัปดาห์เก็บเกี่ยว : ตํ่ากว่า 40% (เร่งระบายอากาศ ลดความชื้น)

การระบายอากาศ: การระบายอากาศที่เหมาะสมเป็นสิ่งสำคัญเพื่อให้พืชของคุณแข็งแรงและป้องกันปัญหาต่างๆ เช่น แมลงศัตรูพืช เชื้อรา และความเครียดจากความร้อน คุณจะต้องตั้งค่าระบบระบายอากาศเพื่อขจัดความร้อนและความชื้นส่วนเกินและนำอากาศบริสุทธิ์เข้ามา

ลำต้น เปลือก แกน มีประโยชน์อย่างไร?

ในส่วนของลำต้น เปลือกกัญชา และแกนกัญชา รวมถึงเส้นใยแห้งในลำต้น สามารถนำไปทำเครื่องนุ่งห่มได้หลากหลายชนิด รวมถึงการนำไปทำกระดาษ หรือเชือกไฟเบอร์ก็สามารถทำได้ ไม่ว่าจะเป็นงานเกี่ยวกับสิ่งทอต่างๆ ต้นกัญชาก็ถูกนำไปใช้ประโยชน์สำหรับอุตสาหกรรมเหล่านี้ได้ทุกสัดส่วน หากมีการนำไปใช้ให้ถูกที่ถูกทาง เชื่อว่าการปลูกกัญชาก็สามารถกลายเป็นอาชีพให้กับเกษตรกรได้อย่างมาก จนทำให้เกิดรายได้เข้าสู่ชุมชนและครอบครัวเพียงแค่ว่าก่อนที่จะมีการลงทุนใดๆ ควรศึกษาวิธีการปลูก การดูแล รวมถึงแหล่งจำหน่ายให้ครบถ้วนก่อน หลังจากทีสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้แล้ว ทุกคนจะได้ไม่มีอุปสรรคอะไรมาขวางทางในการสร้างรายได้กับพืชเกษตรตัวใหม่นี้ ข่าวสารกัญชาพันธุ์ไทย

เมล็ดพันธุ์กัญชาพันธุ์ตะนาวศรีก้านแดง

  • เป็นกัญชาพันธุ์ที่ให้สาร CBD สูง
  • เหมาะสำหรับนำไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์และสาธารณสุข
  • สามารถนำไปใช้ต่อยอดเชิงเศรษฐกิจในด้านอื่นๆ
  • มีลักษณะของช่อดอกที่คล้ายกับพันธุ์ตะนาวศรีก้านขาว
  • แต่จะต่างกันคือมีสีแดงที่กิ่ง ก้าน และใบ ไม่มีกลิ่นฉุน มีกลิ่นหอมคล้ายผลไม้สุก

4 พันธุ์กัญชาไทยแท้ เฉพาะถิ่นหายาก จุดเด่น THC และ CBD สูง

  1. ตะนาวศรีก้านขาว

ช่อดอกเป็นกระจุกแน่นที่ปลายกิ่ง มีช่อดอกจำนวนมาก มีทรงต้นที่เป็นพุ่ม และมีกลิ่นที่เฉพาะตัว หอมคล้ายเปลือกส้มผสมกลิ่นตะไคร้ มีกลิ่นฉุนน้อยกว่าพันธุ์หางเสือ

  1. ตะนาวศรีก้านแดง

ช่อดอกจำนวนมากเช่นเดียวกับพันธุ์ตะนาวศรีก้านขาว แต่มีลักษณะพิเศษที่แตกต่างคือ มีสีแดงที่กิ่ง ก้าน และก้านใบ มีกลิ่นหอมหวานคล้ายกลิ่นผลไม้สุกและไม่มีกลิ่นฉุน

  1. หางเสือ

ช่อดอกยาว เป็นพวงยาวคล้ายหางเสือ มีกลิ่นเฉพาะตัวหอมคล้ายเปลือกส้ม และมีกลิ่นฉุนเล็กน้อย

  1. หางกระรอก

เป็นที่รู้จักคือ “ไทยสติ๊ก (Thai Stick)” เป็นหนึ่งในสายพันธุ์ที่ดีสุดในโลก เพราะมีค่า THC (Tetrahydrocannabinol) หรือสารที่ทำให้เคลิ้ม และนิยมใช้ในการรักษาอยู่ในระดับที่สูงมาก ราว ๆ 18-22 เปอร์เซ็นต์เลยทีเดียว

เมล็ดกัญชาค่ายไหนดีที่สุด_

ข้อดี ข้อเสียของกัญชา

ข้อดีของกัญชา

  1. หากคุณกำลังเบื่ออาหาร มีความอยากอาหารน้อยลง การรับประทานกันชาสามารถช่วยให้คุณมีความอยากอาหารมากขึ้น
  2. รู้สึกไม่สบาย มีอาการวิงเวียนหัวคลื่นไส้อาเจียน การรับประทานกันชาสามารถบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
  3. ในใบกัญชามีสาร Cannabinoids หากผู้ที่มีอาการซึมเศร้าได้สารรับตัวนี้ สามารถลดพฤติกรรมรุนแรงทางด้านอารมณ์ลงได้
  4. ในงานวิจัยได้ค้นพบว่า สาร THC ที่อยู่ในใบกัญชาสามารถป้องกันโรคอัลไซเมอร์
  5. กัญชาทำให้เนื้องอกเนื้อร้ายอย่างมะเร็งหดเหี่ยวลดลงได้
  6. ผู้ที่นอนไม่ค่อยหลับ การรับประทานกัญชาจะช่วยให้คุณหลับสบายมากขึ้น

ข้อเสียของกัญชา

  1. เนื่องจากกัญชามีฤทธิ์กระตุ้นประสาท หากผู้เสพใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจทำให้ผู้เสพมีอาการมึนเมาคล้ายเหล้า เห็นภาพหล่อน หูแวว หวาดระแวง ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้
  2. ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต ไม่ควรเสพกัญชา เพราะจะส่งผลให้เกิดความสับสน วิตกกังวล สมาธิสั้น จนถึงขั้นเสียการทรงตัว
  3. การเสพกัญชาในปริมาณและติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้ร่างกายของคุณเสื่อมโทรมและอาจก่อให้เกิดโรคได้ง่ายขึ้น เช่น โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง น้ำหนักตัวลดลง ซูบผอม
  4. กัญชายังทำให้ปริมาณอสุจิในเพศชายลดน้อยลง เพราะมีฤทธิ์ที่ส่งผลต่อฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของเพศชาย
  5. การสูบกัญชาในปริมาณ 4 ม้วน เทียบเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 ซอง และยังมีความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรี่สูงถึง 5 เท่า
กัญชาเป็นยารักษาโรค/ภาวะอาการที่สามารถใช้ยากัญชาได้

6 โรค/ภาวะอาการ ที่สารกัญชาได้ประโยชน์ในการรักษา โดยมีข้อมูลวิชาการสบับสนุนชัดเจน ภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด

  • โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
  • ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
  • ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักน้อย
  • การเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง หรือผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต

4 กลุ่มโรค / ภาวะ ที่น่าจะได้รับประโยชน์จากสารกัญชา แต่ยังต้องการงานวิจัยสนับสนุนเพิ่มเติม

  • โรคพาร์กินสัน
  • โรคอัลไซเมอร์
  • โรคปลอกประสาทอักเสบอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง)
  • โรคอื่น ๆ ที่มีข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการว่าน่าจะได้ประโยชน์
คนที่ไม่สามารถใช้ยากัญชาได้
  • กำลังตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร
  • มีความเสี่ยงสูงในการทำร้ายตนเอง
  • โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตจากสารเสพติด โรคจิตเภท
  • รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด
  • โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตับ โรคไต ที่มีอาการรุนแรง
  • มีประวัติแพ้สารสกัดกัญชา

เว็บข่าวกัญชา :: weedbong420.com