กัญชาไทยแลนด์ มีมูลค่าอย่ามองข้ามเด็ดขาด สร้างรายได้เสริมง่าย ๆ
กัญชาไทยแลนด์ สิ่งแรกที่สำคัญในการมองว่าจะปลูก หารายได้เสิม คือปลูกแล้วได้ผลผลิตที่ได้เยอะที่สุดประเทศไทยเพิ่งจะอนุญาตให้ใช้กัญชาทางการแพทย์อย่างถูกกฎหมายไม่ถึงหนึ่งปีที่ผ่านมา กัญชาถือเป็นสารเสพติดผิดกฎหมายมาตั้งแต่ พ.ศ. 24771 อย่างไรก็ตาม การบังคับใช้กฎหมายควบคุมกัญชาเพิ่งจะเริ่มมาเข้มงวดในทศวรรษ 1990 (พ.ศ. 2533 – 2542) ครั้งแรกที่ผมเดินทางมาประเทศไทยเมื่อ พ.ศ. 2529 ในฐานะนักเรียนแลกเปลี่ยน ผมยังจำได้ว่าแม่ค้าก๋วยเตี๋ยวหลายคนใช้ “กัญชา” เป็นหนึ่งในสมุนไพรปรุงน้ำซุป การใช้สมุนไพรต่างๆ เพื่อชูรสอาหารและหวังผลทางยา เป็นธรรมเนียมที่สืบทอดกันมาหลายชั่วอายุคนในตำหรับอาหารต่างๆ ผู้ที่คุ้นเคยกับอาหารไทยสักหน่อยจะต้องเคยกิน “ต้มยำ” ซึ่งมีรสชาติเฉพาะตัวจากตะไคร้ ใบมะกรูด และข่า สมุนไพรเหล่านี้มีประโยชน์ทั้งทางการปรุงอาหารและทางยา “ต้มยำ” สักถ้วยจึงเป็นอาหารที่เหมาะสำหรับคนเป็นหวัดคัดจมูก เพราะสมุนไพรเหล่านี้จะช่วยเปิดโพรงไซนัสให้โล่งขึ้น กัญชาเองก็เคยเป็นสมุนไพรที่ใช้กันทั่วไปในทั้งแกงใสและแกงเผ็ด
กัญชาไทยแลนด์ที่ทุกคนยอมรับ ทั้งไทยและต่างประเทศ
กัญชาไทยแลนด์มีประโยชน์ ก่อนการออกกฎหมายนี้ในประเทศไทย ผมเริ่มสนใจกัญชาไทยมากขึ้นเมื่อผมไปเยี่ยมญาติที่รัฐโอเรกอน ประเทศ สหรัฐอเมริกา ซึ่งการใช้กัญชาเป็นสิ่งถูกกฎหมาย และได้สนทนาแลกเปลี่ยนกับชายคนหนึ่งที่เกี่ยวข้องอยู่ในธุรกิจกัญชา เขาเล่าว่าแม้จะมีความพยายามมากมายในการ “พัฒนา” คุณภาพกัญชา แต่ส่วนตัวแล้วเขารู้สึกว่าไม่มีสายพันธุ์ใดในปัจจุบันที่จะเทียบได้กับ “ไทยสติ๊ก (Thai stick)” ที่เขาหาได้ในนิวยอร์กสมัยที่เขาเป็นหนุ่ม เขารู้สึกว่าการปรับปรุงพันธุ์ที่ทำกันอยู่ยังจำกัดอยู่ในมิติแคบๆ และคุณลักษณะบางอย่างหายไปในระหว่างกระบวนการนี้ ผมยังได้เรียนรู้อีกว่าเมล็ดพันธุ์ที่ขายกันอยู่ในตลาดสากลขณะนี้ ส่วนใหญ่เป็นพันธุ์ลูกผสม (hybrid) และสายพันธุ์ดั้งเดิมจำนวนมากกลายเป็นของหายากไปแล้ว
การนำส่วนของกัญชา กัญชง มาใช้ในอาหารที่ผลิตเพื่อจำหน่าย
กัญชาไทยแลนด์สายพันธุ์ใหม่ กองควบคุมวัตถุเสพติดกัญชา สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ระบุว่า ส่วนของกัญชา กัญชง และสารสกัดแคนนาบิไดออล (CBD) ที่ใช้เป็นส่วนประกอบของอาหารเพื่อผลิตจำหน่าย ต้องเป็นเฉพาะส่วนของพืชที่กำหนดในประกาศของกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ เมล็ดกัญชง น้ำมันจากเมล็ดกัญชง โปรตีนจากเมล็ดกัญชง ผลิตภัณฑ์อาหารที่ใช้เปลือก ลำต้น เส้นใย กิ่งก้าน รากและใบ ซึ่งไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย และผลิตภัณฑ์อาหารที่มีการใช้ประโยชน์จากสารสกัด CBD ผู้ประกอบการสามารถขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหารหรือขออนุญาตใช้ฉลากอาหาร เพื่อรับเลขสารบบอาหาร และต้องมีคุณภาพหรือมาตรฐาน เงื่อนไขชนิดอาหาร ปริมาณ THC และ CBD และแสดงคำเตือนเป็นไปตามที่ประกาศกำหนด ทั้งนี้ ผู้ประกอบการที่ประสงค์จะผลิตอาหารเพื่อจำหน่าย ต้องดำเนินการยื่นขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหารและเลขสารบบอาหารด้วย
ดอกกัญชามีประโยชน์อย่างไรบ้าง?
ในดอกกัญชานั้นเมื่อทำการสกัดเอาสารที่สำคัญออกมา จะได้สารสกัดด้วยกัน 2 ส่วน โดยมีการแยกไปใช้ประโยชน์ดังต่อไปนี้ กัญชาไทยแลนด์ดีที่สุด
- ช่อและดอกกัญชาที่จะใช้ในทางการแพทย์ได้นั้น ไม่สามารถนำมาใช้สดๆได้เลยทันที แต่ต้องผ่านกระบวนการสกัดเพื่อให้ได้สารสกัดส่วนแรกที่ต้องการออกมาเสียก่อนโดยสารนั้นมีชื่อว่า CBD (Cannabidiol) บริสุทธิ์ ซึ่งเป็นสารที่มี HTC ที่ทำให้คนเกิดความเคลิบเคลิ้มต่ำไม่ถึง 01 เปอร์เซ็นต์ โดยจะใช้สารตัวนี้ในการวิเคราะห์และทดลองเกี่ยวกับตัวยาต่างๆที่เกี่ยวข้อง รวมถึงนำไปพัฒนาเป็นตัวยาที่มีความสำคัญเพื่อใช้ในการรักษาผู้ป่วยในอนาคต
- สารสกัดกัญชาในส่วนที่สอง จะถูกนำมาใช้เป็นสารสกัดเป็นผลิตภัณฑ์ที่มี CBD (Cannabidiol) เป็นส่วนประกอบหลัก โดยตัวนี้จะมีค่า THC ไม่เกิน 2 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งใช้เป็นตัวยา และผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพราะว่าสารตัวนี้มีสรรพคุณทางยานั่นเอง สามารถรักษาอาการของโรคได้หลายโรค ไม่ว่าจะเป็นอาการลมชัก พาร์กินสัน เป็นต้น โดยหลังจากที่นำไปใช้ผู้ใช้จะไม่เกิดอาการต่อจิตประสาท แม้ว่าจะมีการใช้บ่อยๆก็ไม่ทำให้เกิดการเสพติดเหมือนยาเสพติด
เห็นถึงความมหัศจรรย์ของพืชชนิดนี้แล้วก็อดทึ่งไม่ได้ หลังจากที่มีการเปิดการค้าได้อย่างเสรีในกัญชา เชื่อว่าหลายๆคนเล็งเห็นประโยชน์ที่มีอยู่แน่นอน และไม่เพียงแค่ดอกและใบจะมีประโยชน์เพียงแค่อย่างเดียวนะคะ แต่ว่าส่วนอื่นๆของต้นกัญชาก็ยังเป็นประโยชน์ที่สามารถนำไปทำเงินได้อีก ดังข้อมูลที่น่าสนใจในหัวข้อต่อไป
ข้อดี ข้อเสียของกัญชา
ข้อดีของกัญชา
- หากคุณกำลังเบื่ออาหาร มีความอยากอาหารน้อยลง การรับประทานกันชาสามารถช่วยให้คุณมีความอยากอาหารมากขึ้น
- รู้สึกไม่สบาย มีอาการวิงเวียนหัวคลื่นไส้อาเจียน การรับประทานกันชาสามารถบรรเทาอาการคลื่นไส้อาเจียน
- ในใบกัญชามีสาร Cannabinoids หากผู้ที่มีอาการซึมเศร้าได้สารรับตัวนี้ สามารถลดพฤติกรรมรุนแรงทางด้านอารมณ์ลงได้
- ในงานวิจัยได้ค้นพบว่า สาร THC ที่อยู่ในใบกัญชาสามารถป้องกันโรคอัลไซเมอร์
- กัญชาทำให้เนื้องอกเนื้อร้ายอย่างมะเร็งหดเหี่ยวลดลงได้
- ผู้ที่นอนไม่ค่อยหลับ การรับประทานกัญชาจะช่วยให้คุณหลับสบายมากขึ้น
ข้อเสียของกัญชา
- เนื่องจากกัญชามีฤทธิ์กระตุ้นประสาท หากผู้เสพใช้ในปริมาณที่มากเกินไป อาจทำให้ผู้เสพมีอาการมึนเมาคล้ายเหล้า เห็นภาพหล่อน หูแวว หวาดระแวง ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้
- ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิต ไม่ควรเสพกัญชา เพราะจะส่งผลให้เกิดความสับสน วิตกกังวล สมาธิสั้น จนถึงขั้นเสียการทรงตัว
- การเสพกัญชาในปริมาณและติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ส่งผลให้ร่างกายของคุณเสื่อมโทรมและอาจก่อให้เกิดโรคได้ง่ายขึ้น เช่น โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง น้ำหนักตัวลดลง ซูบผอม
- กัญชายังทำให้ปริมาณอสุจิในเพศชายลดน้อยลง เพราะมีฤทธิ์ที่ส่งผลต่อฮอร์โมนเทสโทสเตอโรนของเพศชาย
- การสูบกัญชาในปริมาณ 4 ม้วน เทียบเท่ากับการสูบบุหรี่ 1 ซอง และยังมีความเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดโรคมะเร็งได้มากกว่าคนสูบบุหรี่สูงถึง 5 เท่า
กัญชาเป็นยารักษาโรค/ภาวะอาการที่สามารถใช้ยากัญชาได้
6 โรค/ภาวะอาการ ที่สารกัญชาได้ประโยชน์ในการรักษา โดยมีข้อมูลวิชาการสบับสนุนชัดเจน ภาวะคลื่นไส้อาเจียนในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
- โรคลมชักที่รักษายาก และโรคลมชักที่ดื้อต่อยารักษา
- ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยปลอกประสาทเสื่อมแข็ง
- ภาวะเบื่ออาหารในผู้ป่วย AIDS ที่มีน้ำหนักน้อย
- การเพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคอง หรือผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิต
4 กลุ่มโรค / ภาวะ ที่น่าจะได้รับประโยชน์จากสารกัญชา แต่ยังต้องการงานวิจัยสนับสนุนเพิ่มเติม
- โรคพาร์กินสัน
- โรคอัลไซเมอร์
- โรคปลอกประสาทอักเสบอื่น ๆ (ที่ไม่ใช่ปลอกประสาทเสื่อมแข็ง)
- โรคอื่น ๆ ที่มีข้อมูลสนับสนุนทางวิชาการว่าน่าจะได้ประโยชน์
คนที่ไม่สามารถใช้ยากัญชาได้
- กำลังตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร
- มีความเสี่ยงสูงในการทำร้ายตนเอง
- โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว โรคจิตจากสารเสพติด โรคจิตเภท
- รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือด
- โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคตับ โรคไต ที่มีอาการรุนแรง
- มีประวัติแพ้สารสกัดกัญชา